วันเสาร์ที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2559

ทศพิธราชธรรม

ทศพิธราชธรรม แต่โบราณมาได้มีข้อกำหนดต่างๆ ที่พระมหากษัตริยาธิราชเจ้าพึงประฏิบัติ ในพระราชจริยาวัตรจัดเป็นพระคุณสมบัติที่สำคัญยิ่งด้วย เรียกว่า ทศราชธรรม หรือคุณธรรม10 ประการ

ธรรมะข้อ 1.ทาน
หมายถึง พระราชทานพัสดุสิ่งของ หรือปัจจัยที่จำเป็นในการดำรงค์ชีวิต แก่ผู้สมควรได้รับ ได้แก่ พระภิกษุสงฆ์ และราษฎรผู้ยากไร้ เป็นต้น นอกจากนี้ยังรว อ่านเพิ่มเติม
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ทศพิธราชธรรม

พระสัทธรรม 3

       สัทธรรม แปลว่า ธรรมของสัตบุรุษ ใช้ หมายถึงพระพุทธพจน์หรือคำสอนของพระพุทธเจ้า เรียกโดยเคารพว่า พระสัทธรรม
สัทธรรม แบ่งเป็น ๓ อย่าง คือ

๑. ปริยัติสัทธรรม คือคำสอนที่แสดงถึงหลักสำหรับศึกษาเล่าเรียน ทรงจำ แนะนำสั่งสอนกัน ได้แก่ พระสูตร คาถา ชาดก เป็นต้น

๒. ปฏิปัตติสัทธรรม คือ คำสอนที่แสดงถึงหลักปฏิบัติตามที่ศึกษามา แสดงวิธีปฏิบัติสูงขึ้นไปตามลำดับ คือระดับศีล ระดับสมาธิ ระดับปัญญา

๓. ปฏิเวธสัทธรรม คือคำสอนที่แสดงถึงผลที่เกิดจากกา อ่านเพิ่มเติม
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ พระสัทธรรม 3

นิวรณ์ 5

นิวรณ์(อ่านว่า นิ-วอน) (บาลีnīvaraṇāna) แปลว่า เครื่องกั้น ใช้หมายถึงธรรมที่เป็นเครื่องปิดกั้นหรือขัดขวางไม่ให้บรรลุความดี ไม่เปิดโอกาสให้ทำความดี และเป็นเครื่องกั้นความดีไว้ไม่ให้เข้าถึงจิต เป็นอุปสรรคสำคัญที่ทำให้ผู้ปฏิบัติบรรลุธรรมไม่ได้หรือทำให้เลิกล้มความตั้งใจปฏิบัติไป
นิวรณ์มี 5 อย่าง คือ
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ นิวรณ์ 5
  1. กามฉันทะ ความพอใจ ติดใจ หลงใหลใฝ่ฝัน ในกามโลกีย์ทั้งปวง ดุจคนหลับอยู่
  2. พยาบาท ความไม่พอใจ จากความไม่ได้สมดังปรารถนาในโลกียะสมบัติทั้งปวง ดุจคนถูกทัณท์ทรมานอยู่
  3. ถีนมิทธะ คว อ่านเพิ่มเติม

ศาสนาสิกข์

ศาสนาซิกข์ หรือ ศาสนาสิกข์ (ปัญจาบ: ਸਿੱਖੀสัท. [ˈsɪkːʰiː], อังกฤษ: Sikhism) เป็นศาสนาที่ถือกำเนิดขึ้นในราวคริสต์ศตวรรษที่ 16 ในตอนเหนือของอินเดีย จากคำสอนของ นานัก และคุรุผู้สืบทอดอีก 9 องค์ หลักปรัชญาของศาสนาซิกข์และการปฏิบัติตามหลักศาสนา นิยมเรียกว่า "คุรมัต" (ความหมายโดยพยัญชนะ หมายถึง "คำสอนของคุรุ" หรือ "ธรรมของซิกข์")
คำว่า "ซิกข์" หรือ "สิกข์" มาจากภาษาสันสกฤตว่า "ศิษฺย" หมายถึง ศิษย์ ผู้เรียน หรือ "ศิกฺษ" หมายถึง การเรียน และภาษาบาลีว่า "สิกฺข" หรือ "สิกฺขา"  หมายถึง การศึกษา ผู้ศึกษา หรือผู้ใฝ่เรียนรู้
ศาสนาซิกข์ เป็นศาสนาแบบเอกเทวนิยม เนื่องจากหลักคว อ่านเพิ่มเติม
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ศาสนาสิข

ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู

ศาสนาฮินดู (อังกฤษ: Hinduism) หรือ สนาตนธรรม เป็นศาสนาแบบพหุเทวนิยมที่พัฒนาการต่อมาจากศาสนาพราหมณ์ จึงมักเรียกรวมกันว่าศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ไม่ปรากฏแน่ชัดว่าใครเป็นศาสดา มีคัมภีร์ศาสนาเรียกว่าพระเวท มีศาสนิกชนมากเป็นอันดับที่ 4 ของโลก มีจำนวนประมาณ 900 ล้านคน
ศาสนานี้นับถือเทพเจ้าหลายองค์ เรียกว่า "พหุเทวนิยม" เทพเจ้าแต่ละองค์ในแต่ละยุคสมัย มีบทบาท และตำนานต่างกันไป ในแต่ละท้องถิ่นยังมีคว อ่านเพิ่มเติม
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู

ศาสนาคริสต์

ศาสนาคริสต์ (อังกฤษChristianityราชบัณฑิตยสถานเรียกว่า คริสต์ศาสนา เป็นศาสนาประเภทเอกเทวนิยม ที่มีพื้นฐานมาจากชีวิตและการสอนของพระเยซูตามที่ปรากฏในพระวรสารในสารบบ(canonical gospel) และงานเขียนพันธสัญญาใหม่อื่น ๆ  ผู้นับถือศาสนาคริสต์เรียกว่าคริสต์ศาสนิกชนหรือคริสตชน
คริสตชนเชื่อว่าพระเยซูเป็นพระบุตรพระเป็นเจ้า และเป็นพระเจ้าผู้มาบังเกิดเป็นมนุษย์และเป็นพระผู้ช่วยให้รอด ด้วยเหตุนี้ คริสตชนจึงมักเรียกพระเยซูว่า "พระคริสต์" หรือ "พระเมสสิยาห์" ศาสนาคริสต์ปัจจุบันแบ่งเป็นสามนิกายใหญ่ คือ โรมันคาทอลิก อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ และโป อ่านเพิ่มเติม
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ศาสนาคริสต์

ศาสนาอิสลาม

ศาสนาอิสลาม (อังกฤษIslam) เป็นศาสนาเอกเทวนิยมและศาสนาอับราฮัม บัญญัติไว้ในคัมภีร์อัลกุรอาน คัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ของอิสลามซึ่งสาวกถือว่าเป็นพระวจนะคำต่อคำของพระเป็นเจ้า (อัลลอฮฺ) และสำหรับสาวกส่วนใหญ่ เป็นคำสอนและตัวอย่างเชิงบรรทัดฐาน (เรียกว่า สุนัต และประกอบด้วยหะดีษ) ของมุฮัมมัด (ประมาณ 570–8 มิถุนายน 632) ซึ่งสาวกมองว่าเป็นศาสดา (นบี) องค์สุดท้ายของพระเป็นเจ้า สาวกของศาสนาอิสลาม เรียกว่า มุสลิม
มุสลิมเชื่อว่า พระเจ้าเป็นหนึ่งและหาที่เปรียบไม่ได้ และจุดประสงค์ของการดำรงอยู่ คือ เพื่อรักและรับใช้พระเป็นเจ้า มุสลิมยังเชื่อว่า ศา อ่านเพิ่มเติม
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ศาสนาอิสลาม

หลักธรรมสำคัญของพระพุทธศาสนา

หลักธรรมสำคัญของศาสนา                                
           ในแต่ละศาสนาจะมีหลักธรรมคำสอนปลีกย่อยแตกต่างกัน เพื่อให้ผู้ประพฤติปฏิบัติไปสู่จุดมุ่งหมายสูงสุดของศาสนา แม้คนไทยส่วนใหญ่จะนับถือพระพุทธศาสนา   
           แต่ก็มีคนไทยอีกส่วนหนึ่งที่นับถือศาสนาแตกต่างกันไป ซึ่งทุกคนสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสงบสุข เพราะทุกศาสนามีหลักธรรมคำสอนที่สอดคล้ อ่านเพิ่มเติม
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ หลักธรรมสำคัญของพระพุทธศาสนา

ชาดก

ชาดก (สันสกฤต: บาลี: जातक) คือ เรื่องราวหรือชีวประวัติในอดีตชาติของพระโคตมพุทธเจ้า คือ สมัยที่พระองค์เป็นพระโพธิสัตว์บำเพ็ญบารมีอยู่ พระองค์ทรงนำมาเล่าให้พระสงฆ์ฟังในโอกาสต่าง ๆ เรียกเรื่องในอดีตของพระองค์นี้ว่า ชาดก ชาดกเป็นเรื่องเล่าคล้ายนิทาน บางครั้งจึงเรียกว่า นิทานชาดก
ชาดกที่ทรงเล่านั้นมีหลายร้อยเรื่อง ว่าทรงเคยเกิดเป็นมนุษย์บ้าง เป็นสัตว์บ้าง แต่ที่รู้จักกันโดยทั่วไป คือ 10 ชาติสุดท้ายที่เรียกว่าทศชาติชาดก และชาติสุดท้า อ่านเพิ่มเติม
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ชาดก

พุทธประวัติ

พุทธประวัติ คือ ประวัติของพระพุทธเจ้า, เรื่องราวต่าง ๆ ของพระพุทธเจ้า ตลอดถึงเรื่องราวต่างของบุคคลและสถานที่ที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธเจ้า
พุทธประวัติที่เป็นหนังสือหรือตำรา นอกจากจะมีเนื้อหาที่ประวัติของพระพุทธเจ้าแล้ว ยังมีเนื้อหาที่เป็นประวัติพระสาวก ประวัติสถานที่ เหตุการณ์และประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาหลังจากพระพุทธเจ้าปรินิพพานแล้วด้วย
พุทธประวัติรวบรวมได้จากพระไตรปิฎกโดยเก็บเนื้อหาซึ่งกระจายอยู่ในพระวินัยบ้าง พระสูตรบ้าง มาจัดลำดับให้เป็นเรื่องราวติดต่อกันไปตามเห อ่านเพิ่มเติม
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ พุทธประวัติ